เรื่องน่าสนใจ

หยุดการเกิดโรคประจำตัวต่างๆ ด้วยวิธีเหล่านี้

โรคประจำตัว

โรคประจำตัว ตามความหมายจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมาย ถึง โรคที่ติดตัวอยู่เป็นประจำ รักษาไม่หายขาด ซึ่งคำในภาษาอังกฤษที่ผู้เขียนแปลเองว่า น่า จะตรงกับ คำว่า Underlying disease ที่พจนานุกรมศัพท์แพทย์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2547 ให้คำแปลว่า โรคพื้นเดิม หรือ โรคเบื้องหลัง

Advertisement

ทั้งนี้ โรคประจำตัว ทางการแพทย์มีความหมายเช่นเดียวกับพจนานุกรม คือ โรคเรื้อรังที่ผู้ป่วยเจ็บป่วยอยู่แล้ว เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน แล้วต่อมา ผู้ป่วยเกิดเจ็บป่วยด้วยโรคอื่นๆหรือที่เรียกว่าโรคในปัจจุบัน เช่น ผู้ป่วยโรคมะเร็ง (โรคปัจจุบัน) ที่มีโรคประจำตัว (โรคพื้นเดิม หรือ โรคเบื้องหลัง) คือ โรคเบาหวาน เป็นต้น

โรงมะเร็ง
โรงมะเร็ง

โรงมะเร็ง

กินอาหารที่มีสารก่อมะเร็ง ซึ่งพบในอาหารไหม้ๆ หรือ ใช้น้ำมันทอดซ้ำๆ เช่น หมูปิ้งไหม้ๆ ,กล้วยทอด ,ไส้กรอก ลูกชิ้นทอด

โรคไต
โรคไต

โรคไต

กินอาการที่มีโซเดียมสูงทำให้ไตทำงานหนัก และ เสื่อมเร็วขึ้น เช่น เครื่องปรุง ,ส้มตำ ,บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เป็นต้น

Advertisement

โรคตับ
โรคตับ

โรคตับ

กินอาหารที่เป็นพิษต่อตับ และ กินอาหารที่มีไขมันสูง เช่น เหล้า เบียร์ ,หมูกรอบ ,พาราเซตามอล เป็นต้น

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน

กินอาหารที่แคลอรีสูง น้ำตาลสูง ไขมันสูง เช่น เค้ก ,น้ำหวาน ,ไก่ทอด เป็นต้น

โรคอ้วน
โรคอ้วน

โรคอ้วน

กินอาหารที่แคลอรีสูง น้ำตาลสูง ไขมันสูง เช่น น้ำอัดลม ,ขาหมูมันๆ ,พิซซ่า เป็นต้น

โรคหัวใจ
โรคหัวใจ

โรคหัวใจ

กินอาหารที่มีไขมันสูง โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว และ ไขมันทรานส์ เช่น ไก่ทอด ,โดนัท ,หมูกรอบ เป็นต้น

โรคกระดูกพรุน
โรคกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน

ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ และ กินอาหารที่ขัดขวาง การดูดซึมของแคลเซียม เช่น กาแฟ ,เหล้า เบียร์ ,น้ำอัดลม เป็นต้น

โรคความดันสูง
โรคความดันสูง

โรคความดันสูง

กินอาหารที่มีโซเดียม และ ไขมันสูง เช่น เครื่องปรุง ,มันฝรั่งทอด ,ไส้กรอก ลูกชิ้นทอด เป็นต้น

ที่มา – Jones Salad

Advertisement

Advertisement

NaniTalk S.

เป็นนักเขียนที่ขยันขันแข็งและมุ่งมั่นที่จะผลิตเนื้อหาที่มีคุณภาพ เรียนรู้และเติบโตอยู่เสมอ เชื่อว่าเนื้อหาที่ดีสามารถสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อโลกได้

บทความที่เกี่ยวข้อง

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Back to top button